APCO นวัตกรรมแห่งชาติไทย บุกตลาดแอฟริกา ไนจีเรียมั่นใจ ByeByeHIV ทุ่มทุนสั่งซื้อ 5 ล้านขวด บำบัดผู้ติดเชื้อเอชไอวีในแอฟริกา วันจันทร์ ที่ 24 มิถุนายน 2567 เวลา 11:00 น
HIV (human immunodeficiency virus) เชื้อเอชไอวี เชื้อที่เป็นสาเหตุของโรคเอดส์ (AIDS : acquired immunodeficiency syndrome) เมื่อร่างกายติดเชื้อ HIV มาแล้ว เชื้อเอชไอวี จะไปทำลายเซลล์ CD4 ก่อน ซึ่ง CD4 เป็นเม็ดเลือดขาวระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ติดเชื้อ HIV หากไม่ได้รับการดูแลใดๆจะทำให้ CD4 ในร่างกายต่ำลงเรื่อยๆ และเมื่อต่ำกว่า 200 cell/cu.mm. จะทำให้ผู้ติดเชื้อเอชไอวี กลายเป็นผู้ป่วย เอดส์ AIDS หมายถึงว่า ภูมิคุ้มกันของผู้ที่เป็นเอดส์ AIDS จะต่ำมากจนต้านทานเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายไม่ได้ ทำให้ ติดเชื้อฉวยโอกาสได้ง่าย และ ทำให้เป็นโรคแทรกซ้อนอื่นๆ โดยผู้ป่วยเอดส์ AIDS มักเสียชีวิตจากการติดเชื้อฉวยโอกาสอื่นๆ นั่นเอง การติดเชื้อ HIV เป็นอีกปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เป็นมะเร็ง เนื่องจากร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่ำ เซลล์ร่างกายจึงมีโอกาสกลายพันธุ์ได้มากกว่าคนอื่นๆ
ระยะแรกของการติดเชื้อ เรียกว่า ‘ระยะเฉียบพลัน’ เป็นช่วงระหว่าง 2-4 สัปดาห์ หลังจากติดเชื้อมา ในระยะนี้ผู้ติดเชื้อส่วนมาก จะเริ่มมีอาการเหมือนเป็น ไข้หวัดใหญ่ มีอาการ มีไข้ เจ็บคอ ต่อมน้ำเหลืองโต ปวดเมื่อยตามร่างกาย มีผื่นและปวดหัว อาการเหล่านี้เรียกว่า acute retroviral syndrome หรือ ARS เป็นอาการที่ร่างกายตอบสนองต่อการติดเชื้อ HIV ในระยะนี้เชื้อไวรัสจะก๊อปปี้เพิ่มจำนวนขึ้นมาอย่างมากและมุ่งไปทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาวที่เรียกว่า CD4 ก่อนเลย ทำให้ผู้ติดเชื้อระยะนี้ CD4 จะลดลงอย่างรวดเร็ว และเนื่องจากเป็นระยะที่ อาการที่แสดงออกมาดูเหมือนเป็นไข้หวัดใหญ่ผู้ติดเชื้อจึงอาจไม่รู้ตัวว่าติดเชื้อมาแล้วจึงมีโอกาสสูงที่จะแพร่กระจายไวรัสไปสู่ผู้อื่น อย่างไรก็ตามหลังจากระยะเฉียบพลันนี้สักพัก ระบบภูมิคุ้มกันอันยอดเยี่ยมของเรา จะพยามสู้ ต้านไวรัสเช่นกัน จนไวรัสอาจอยู่ในระดับคงที่ได้ หรือที่เรียกว่า viral set point หมายถึงว่า เป็นช่วงที่เชื้อไวรัสในร่างกายถูกควบคุมโดยระบบภูมิคุ้มกันให้มีปริมาณคงที่ไว้ ช่วงนี้เป็นช่วงที่ CD4 จะเพิ่มขึ้นมาได้อีกครั้ง แต่จะไม่สูงเท่าตอนก่อนติดเชื้อ
ต่อมาคือ ‘ระยะสงบทางคลีนิค (Clinical Latency Stage)’ เป็นระยะที่ร่างกายยังคงมีเชื้อไวรัสอยู่ แต่ไม่แสดงอาการใดๆทางภายนอกออกมา อย่างมากสุดอาจมีอาการเพียงเล็กน้อย บางครั้งระยะนี้จึงถูกเรียกว่า ระยะติดเชื้อเรื้อรัง (chronic HIV infection) หรือ ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ (asymptomatic HIV infection) ในระยะนี้การเพิ่มปริมาณขึ้นของไวรัสจะอยู่ในระดับต่ำ และอาจใช้เวลานานกว่าสิบปี กว่าไวรัสจะทำลายระบบภูมิคุ้มกัน จนทำให้ผู้ติดเชื้อเข้าสู่ระยะสุดท้าย คือภาวะผู้ป่วยเอดส์ได้ หรืออย่างที่เราเคยได้ยินกันมาบ้างว่า ‘บางคนติดเอดส์ยังอยู่ได้มาเป็นสิบปี’ ลักษณะเช่นนี้หละที่หมายถึงผู้ติดเชื้อในระยะนี้ โดยระยะนี้ระบบภูมิคุ้มกันของเราอาจยังพอดูแลร่างกายได้อยู่บ้าง แต่ก็ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการใช้ชีวิตของเราด้วย ถ้าเราไม่รู้ตัวว่าติดเชื้อแล้ว และยังใช้ชีวิตไม่ระวังไม่ดูแลสุขภาพร่างกายไม่แข็งแรง ก็อาจต้านทานไวรัสไว้ได้ไม่นาน และเราอาจเข้าสู่ภาวะผู้ป่วยเอดส์เร็วขึ้น
ระยะสุดท้าย คือ ระยะโรคเอดส์ (AIDS) เป็นระยะที่จากเป็นผู้ติดเชื้อกลายมาเป็นผู้ป่วยเอดส์ โดยปกติระบบภูมิคุ้มกันที่แข็งแรงดี มีปริมาณเซลล์ CD4 อยู่ระหว่าง 500-1600 cumm. ซึ่งผู้ป่วยเอดส์จะมี CD4 ต่ำกว่า 200 cumm. เมื่อ CD4 มีระดับต่ำแบบนี้หมายถึงระบบภูมิคุ้มกันได้ถูกทำลายไปมากแล้ว ทำให้ผู้ป่วยจะมีอาการ ‘ติดเชื้อฉวยโอกาส (opportunistic infections)’ นั่นคือ การติดเชื้อโรคที่ถ้าเป็นคนแข็งแรงดีติดเชื้อโรคพวกนี้จะไม่ก่อให้เกิดโรคได้ เช่น เชื้อรา ผด วัณโรค เป็นต้น อย่างไรก็ตามถ้ามีการติดเชื้อฉวยโอกาสอย่างใดอย่างนึงแล้ว ก็เรียกได้ว่าคนนั้นเป็นเอดส์แล้ว ดังนั้นถ้ารู้ตัวว่าไปเสี่ยงมาแล้วแอดแนะนำว่าให้ไป ตรวจเลือด เพราะเป็นวิธีเดียวที่จะรู้ได้ว่า เราติดเชื้อรึยัง? จะได้รีบหาวิธีแก้ไขต่อไป อาจเป็นวิธีที่ดีกว่าต้องคอยกังวลอยู่แล้วไม่แน่ใจสุขภาพก็อาจยิ่งแย่ลงไปอีกได้ สุดท้ายอย่าลืมใช้ถุงยางอนามัยป้องกันไว้ก่อนด้วยนะคะ
ผู้ที่ไม่ติดเชื้อ HIV จะตรวจไม่พบเชื้อ HIV และ HIV antibody ในเลือด CD4 500-1,400 Cells/cu.mm และ %CD4 25-65%
1.1ตรวจหา HIV antibody ถ้าเป็นลบ ใช้ 3 แคปซูล ก่อนอาหารครึ่งชั่วโมง ทุกมื้อ รวม 9 แคปซูล ต่อวัน
1.2 ตรวจหา HIV antibody อีกครั้ง หลังครบ 1 เดือน ถ้ายังเป็นลบอีก ลดการใช้แคปซูล ลงเหลือ 2 แคปซูล ก่อนอาหารครึ่งชั่วโมง เช้าและเย็น รวม 4 แคปซูลต่อวัน ต่อเนื่องเป็นเวลา 2 เดือน
1.3 ตรวจหา HIV antibody อีกครั้ง ถ้ายังเป็นลบอีก แสดงว่า ไม่ติดเชื้อ HIV
1.4 ในการตรวจครั้งใดครั้งหนึ่ง (ข้อ 1.1-1.3) หากมีค่า HIV antibody เป็นบวก ให้ปฏิบัติตามข้อ
**ในระหว่างที่ใช้แคปซูลให้ออกกำลังกายอย่างน้อย 30 นาทีทุกวัน งดการดื่มแอลกอฮอล์ งด/ลดอาหารหวาน และนอนหลับ 6-8 ชั่วโมง**
2.1 ตรวจหาจำนวนเชื้อ HIV, CD4 และ %CD4
2.2 ใช้ 4 แคปซูล/ก่อนอาหาร ครึ่งชั่วโมง รวม 12 แคปซูล/วัน เป็นเวลา 6 เดือน หรือ จนกว่าตรวจไม่พบเชื้อ HIV (ND หรือ < 20 copies/ml),
CD4 มากกว่า 600 cells/cu.mm %CD4 มากกว่า 30% เมื่อเป็นไปตามเกณฑ์แล้วให้ไปข้อ 2.3
2.3 ตรวจหาจำนวนเชื้อ HIV, CD4 และ %CD4 ทุก 1-2 เดือน จนกระทั่งแน่ใจว่าไม่พบเชื้อแล้ว มี CD4 และ %CD4 เทียบเท่าคนปกติ (CD4 = 500-1,400 cells/cu.mm / %CD4 = 25-65%)
2.4 หลังจากตรวจไม่พบเชื้อแล้ว เดือนต่อๆ ไป ลดจำนวนแคปซูลลง เช่น 12 แคปซูล/วัน เหลือ 9 แคปซูล/วัน จนกระทั่งลดเหลือ 2 แคปซูล/วัน
ในระหว่างที่ใช้ภูมิคุ้มกันบำบัด APCO
• ออกกำลังกายอย่างน้อย 30 นาที ทุกวัน
• งดการดื่มแอลกอฮอล์
• งด/ลดอาหารหวาน
• นอนหลับให้ได้ 6-8 ชั่วโมง
3.1 ตรวจหาจำนวนเชื้อ HIV, CD4 และ %CD4
3.2 ใช้ 4 แคปซูล/ก่อนอาหาร ครึ่งชั่วโมง รวม 12 แคปซูล/วัน เป็นเวลา 6 เดือน หรือ จนกว่า
ตรวจไม่พบเชื้อ HIV (ND หรือ < 20 copies/ml),
CD4 มากกว่า 600 cells/cu.mm
%CD4 มากกว่า 30%
เมื่อเป็นไปตามเกณฑ์แล้วให้ไปข้อ 3
3.3 ลดการใช้ยาต้านไวรัสลง แต่ยังคงใช้ภูมิคุ้มกันบำบัดเท่าเดิม
ก. ลดยาต้านไวรัสลงเหลือ 1/2 ของที่เคยใช้ เป็นเวลา 2 เดือน ตรวจค่า CD4, %CD4 และ HIV Viral Load หากได้ผลดีให้ไปขั้นถัดไป
ข. ลดยาต้านไวรัสลงเหลือ 1/4 ของที่เคยใช้ เป็นเวลา 2 เดือน ตรวจค่า CD4, %CD4 และ HIV Viral Load หากได้ผลดีให้ไปขั้นถัดไป
ค. ลดยาต้านไวรัสลงเหลือ 1/8 ของที่เคยใช้ เป็นเวลา 2 เดือน ตรวจค่า CD4, %CD4 และ HIV Viral Load หากได้ผลดีให้ไปขั้นถัดไป
ง. หยุดใช้ยาต้านไวรัสเป็นเวลา 2 เดือน แล้วตรวจค่า CD4, %CD4 และ HIV Viral Load หากค่าทุกอย่างดีขึ้น แสดงว่า ByeByeHIV แล้ว
3.4 หลังจากตรวจไม่พบเชื้อแล้ว เดือนต่อๆ ไป ลดจำนวนแคปซูลลง เช่น 12 แคปซูล/วัน เหลือ 9 แคปซูล/วัน จนกระทั่งลดเหลือ 2 แคปซูล/วัน
ใช้ 4-6 แคปซูล ต่อวัน ผลข้างเคียงของยาต้านไวรัส จะค่อยๆ ลดลงใน 1-3 เดือน ใช้แคปซูล จำนวนเท่าเดิม ต่อไปจนกระทั่งผลข้างเคียงของยาต้านไวรัสหมดอย่างสิ้นเชิง
ในระหว่างที่ใช้แคปซูลให้ออกกำลังกายอย่างน้อย 30 นาทีทุกวัน งดการดื่มแอลกอฮอล์ งด/ลดอาหารหวาน และนอนหลับ 6-8 ชั่วโมง